EDUCATION
KHONKAEN UNIVERSITY
|
คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น
|
ประมวลการสอนรายวิชา (Course Syllabus)
|
ภาคเรียนที่ 2ปีการศึกษา 2552
|
วิชา234 114ประวัติศาสตร์สำหรับครู
Historyfor Teacher
|
หน่วยกิต : 3(2-2-5)
|
สาขาวิชา
|
สังคมศึกษา
|
ประเภทวิชา
|
วิชาบังคับ
|
วัน/เวลา
|
จันทร์ เวลา 13.00-14.30 น.
พุธเวลา 13.00-14.30 น.
|
สถานที่สอน
|
ED1301
|
ผู้สอน
|
1.รศ.ลัดดาศิลาน้อย2.อ.ดร.อังคณาตุงคะสมิต
|
1.คำอธิบายรายวิชา
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
ความสำคัญของวิชาประวัติศาสตร์ โครงสร้างด้านต่างๆ ของวิชาประวัติศาสตร์ไทย ตั้งแต่สมัยสุโขทัย ถึงรัตนโกสินทร์และโบราณวัตถุ ในฐานะที่เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ เป็นศิลปวัฒนธรรม และเอกลักษณ์ของชาติไทย เพื่อให้ผู้เรียนได้สามารถนำมาวิเคราะห์ วิจารณ์ การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมไทย ผลกระทบที่ตามมา และแนวทางการปลุกฝังให้นักเรียนในโรงเรียนได้ตระหนักถึงคุณค่าและการอนุรักษ์
The significance of history subjects; structures of Thai history subjects, from Sukhothai to Ratanakosin Periods; study of historical sites and objects as clues to Thai art and cultural history to enable the learners to analyze and comment on cultural changes and subsequent effects on Thai cultural; approaches to instill cultural value and conservation in the students.
2.จุดประสงค์รายวิชาเพื่อให้ผู้เรียน
2.1อธิบายความหมายความสำคัญประโยชน์ของประวัติศาสตร์วิธีการศึกษาทางประวัติศาสตร์และหลักฐานทางประวัติศาสตร์ได้
2.2วิเคราะห์วิจารณ์โครงสร้างประวัติศาสตร์ด้านการเมืองการปกครองสังคม เศรษฐกิจวัฒนธรรมของสมัยต่างๆได้2.3อภิปรายโครงสร้างของประวัติแต่ละยุคสมัยได้
2.4สรุปและเปรียบเทียบโครงสร้างของประวัติศาสตร์ไทยในสมัยต่าง ๆ ได้
2.5วิเคราะห์ความสำคัญอิทธิพลของโบราณสถานโบราณวัตถุที่มีต่อด้านสังคมเศรษฐกิจ การเมืองของไทยได้
2.6วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมไทยได้
2.7ปฏิบัติโครงการเพื่อสร้างความตระหนักในโบราณสถานโบราณวัตถุในท้องถิ่นได้
2.8อธิบายแนวทางปลูกฝังให้นักเรียนในโรงเรียนได้ตระหนักถึงคุณค่าและการอนุรักษ์มรดกของชาติได้
3.วัน-เวลาเรียน -ห้องเรียน
จันทร์ เวลา 13.00-14.30 น.ED 1301
พุธเวลา 13.00-14.30 น.ED 1301
4.สังเขปเนื้อหา
4.1ประวัติศาสตร์
4.1.1 ความหมายความสำคัญประโยชน์ของประวัติศาสตร์
4.1.2 วิธีการทางประวัติศาสตร์
4.1.3 หลักฐานทางประวัติศาสตร์
4.2 โครงสร้างของประวัติศาสตร์ไทย สมัยกรุงสุโขทัยกรุงศรีอยุธยากรุงรัตนโกสินทร์
4.2.1 ด้านการเมืองการปกครอง
4.2.2 ด้านสังคม
4.2.3 ด้านเศรษฐกิจ
4.2.4 ด้านศิลปวัฒนธรรม
4.3 มรดกของชาติ
4.3.1 โบราณสถานโบราณวัตถุในแง่ของหลักฐานทางประวัติศาสตร์
4.3.2 ความสำคัญในเชิงของศิลปวัฒนธรรมและเอกลักษณ์
4.3.3 ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมต่อมรดกของชาติ
4.3.4 ฝึกปฏิบัติการโครงการ เพื่อสร้างความตระหนักในโบราณสถานโบราณวัตถุท้องถิ่น
4.4 การอนุรักษ์มรดกของชาติ
4.4.1 โบราณสถานโบราณวัตถุ
4.4.2 การสร้างจิตสำนึกให้แก่ผู้เรียนต่อการอนุรักษ์มรดกของชาติ
5. กิจกรรมการเรียนการสอน
5.1บรรยายอภิปราย วิเคราะห์วิจารณ์ในชั้นเรียน
5.2ศึกษาจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์
5.3 ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองปฏิบัติงานกลุ่มรายงานผลการศึกษาค้นคว้า/ผลการปฏิบัติงานกลุ่ม
5.4 ศึกษาประวัติศาสตร์ โบราณสถานโบราณวัตถุในภาคตะวันออกเฉียงเหนือปฏิบัติงานกลุ่มรายงานผลการศึกษาค้นคว้า/ผลการปฏิบัติงานกลุ่ม
5.5 สำรวจและศึกษาจากแหล่งความรู้ในชุมชน
6. สื่อการเรียนการสอน
6.1 ใบงาน
6.2PowerPoint
6.3 เอกสารประกอบการสอน
6.4 สื่ออิเล็กทรอนิกส์
7. การประเมินผล
เวลาเรียนไม่ต่ำกว่า80%
ลำดับที่
|
วิธีการประเมินผล
|
ร้อยละ
|
1
|
|
10
|
2
|
ผลงานกลุ่ม
|
40
|
3
|
|