ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเชื่อ ที่มีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตของชาวอีสาน สภาพปัจจุบันและปัญหาของภาคอีสานทั้งในด้านสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และคุณภาพชีวิต สภาพพื้นฐานของสังคมศึกษาต่อการจัดการศึกษาในโรงเรียน

Geographical, historical traditional surroundings, belief which influence Esan people’s way of life, an analysis of the current social, economic and cultural situations problems and quality of life in Esan. Basic condition of social studies towards education management in schools.

Skill Level: Beginner

แบบ วช. 05

เค้าโครงรายวิชา

(Course Outline)

* 234112ครูกับโลกยุคปัจจุบัน3(2-2-5)

Teacher in the Modern World

หัวข้อที่สอน

จำนวนชั่วโมง

บรรยาย/อภิปราย

ปฏิบัติการ/ ฝึกงาน/ฝึกภาคสนาม

1.พื้นฐานทางสังคมและวัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง

ของโลก

1.1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเหตุการณ์ของโลก

1.2 ความสัมพันธ์และการเมืองระหว่างประเทศ

2.การแสวงหาผลประโยชน์และภาวะสงครามโลกทั้ง 2 ครั้ง

2.1 การปฏิวัติอุตสาหกรรม

2.2 การล่าอาณานิคม

2.3 สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2

3.เหตุการณ์และวิกฤติการณ์โลกในช่วงสงครามเย็น

3.1 การเมืองการปกครองระบบประชาธิปไตยและระบบคอมมิวนิสต์

3.2 ความร่วมมือระหว่างประเทศระดับภูมิภาคและระดับโลก

3.3 สภาวะด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมืองของประเทศไทยช่วง

สงครามเย็น

4.สถานการณ์ประเทศไทยตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นประชาธิปไตย

4.1 การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

4.2 ผลกระทบจากการพัฒนาประเทศตามลัทธิทุนนิยม

4.3 การเกิดวิกฤตทางเศรษฐกิจ และการเมืองการปกครอง

3

7

5

5

3

7

5

5

หัวข้อที่สอน

จำนวนชั่วโมง

บรรยาย/อภิปราย

ปฏิบัติการ/ฝึกงาน/ฝึกภาคสนาม

5.ผลจากวิกฤติการณ์ภายนอกประเทศที่มีต่อระบบการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคมของประเทศไทยและท้องถิ่น

6.การเรียนการสอนเหตุการณ์โลกปัจจุบัน

6.1 การสอนวิเคราะห์การเมืองการปกครองของสังคมไทยและสังคมโลก

ปัจจุบัน

6.2 การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น

ประมุข

6.3 การจัดกิจกรรมการสอนกระบวนการทางประชาธิปไตย

6.4 คุณธรรมของการเป็นพลเมืองดีในสังคมประชาธิปไตยในระดับ

ประเทศชาติและภูมิภาค

6.5 การปฏิรูประบบราชการและการปฏิรูปการศึกษา

5

5

5

5

รวม

30

30

Skill Level: Beginner

EDUCATION

KHONKAEN UNIVERSITY

คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ประมวลการสอนรายวิชา (Course Syllabus)

ภาคเรียนที่ 2ปีการศึกษา 2552

วิชา234 114ประวัติศาสตร์สำหรับครู

Historyfor Teacher

หน่วยกิต : 3(2-2-5)

สาขาวิชา

สังคมศึกษา

ประเภทวิชา

วิชาบังคับ

วัน/เวลา

จันทร์ เวลา 13.00-14.30 น.

พุธเวลา 13.00-14.30 น.

สถานที่สอน

ED1301

ผู้สอน

1.รศ.ลัดดาศิลาน้อย2.อ.ดร.อังคณาตุงคะสมิต

1.คำอธิบายรายวิชา

เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี

ความสำคัญของวิชาประวัติศาสตร์ โครงสร้างด้านต่างๆ ของวิชาประวัติศาสตร์ไทย ตั้งแต่สมัยสุโขทัย ถึงรัตนโกสินทร์และโบราณวัตถุ ในฐานะที่เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ เป็นศิลปวัฒนธรรม และเอกลักษณ์ของชาติไทย เพื่อให้ผู้เรียนได้สามารถนำมาวิเคราะห์ วิจารณ์ การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมไทย ผลกระทบที่ตามมา และแนวทางการปลุกฝังให้นักเรียนในโรงเรียนได้ตระหนักถึงคุณค่าและการอนุรักษ์

The significance of history subjects; structures of Thai history subjects, from Sukhothai to Ratanakosin Periods; study of historical sites and objects as clues to Thai art and cultural history to enable the learners to analyze and comment on cultural changes and subsequent effects on Thai cultural; approaches to instill cultural value and conservation in the students.

2.จุดประสงค์รายวิชาเพื่อให้ผู้เรียน

2.1อธิบายความหมายความสำคัญประโยชน์ของประวัติศาสตร์วิธีการศึกษาทางประวัติศาสตร์และหลักฐานทางประวัติศาสตร์ได้

2.2วิเคราะห์วิจารณ์โครงสร้างประวัติศาสตร์ด้านการเมืองการปกครองสังคม เศรษฐกิจวัฒนธรรมของสมัยต่างๆได้2.3อภิปรายโครงสร้างของประวัติแต่ละยุคสมัยได้

2.4สรุปและเปรียบเทียบโครงสร้างของประวัติศาสตร์ไทยในสมัยต่าง ๆ ได้

2.5วิเคราะห์ความสำคัญอิทธิพลของโบราณสถานโบราณวัตถุที่มีต่อด้านสังคมเศรษฐกิจ การเมืองของไทยได้

2.6วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมไทยได้

2.7ปฏิบัติโครงการเพื่อสร้างความตระหนักในโบราณสถานโบราณวัตถุในท้องถิ่นได้

2.8อธิบายแนวทางปลูกฝังให้นักเรียนในโรงเรียนได้ตระหนักถึงคุณค่าและการอนุรักษ์มรดกของชาติได้

3.วัน-เวลาเรียน -ห้องเรียน

จันทร์ เวลา 13.00-14.30 น.ED 1301

พุธเวลา 13.00-14.30 น.ED 1301

4.สังเขปเนื้อหา

4.1ประวัติศาสตร์

4.1.1 ความหมายความสำคัญประโยชน์ของประวัติศาสตร์

4.1.2 วิธีการทางประวัติศาสตร์

4.1.3 หลักฐานทางประวัติศาสตร์

4.2 โครงสร้างของประวัติศาสตร์ไทย สมัยกรุงสุโขทัยกรุงศรีอยุธยากรุงรัตนโกสินทร์

4.2.1 ด้านการเมืองการปกครอง

4.2.2 ด้านสังคม

4.2.3 ด้านเศรษฐกิจ

4.2.4 ด้านศิลปวัฒนธรรม

4.3 มรดกของชาติ

4.3.1 โบราณสถานโบราณวัตถุในแง่ของหลักฐานทางประวัติศาสตร์

4.3.2 ความสำคัญในเชิงของศิลปวัฒนธรรมและเอกลักษณ์

4.3.3 ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมต่อมรดกของชาติ

4.3.4 ฝึกปฏิบัติการโครงการ เพื่อสร้างความตระหนักในโบราณสถานโบราณวัตถุท้องถิ่น

4.4 การอนุรักษ์มรดกของชาติ

4.4.1 โบราณสถานโบราณวัตถุ

4.4.2 การสร้างจิตสำนึกให้แก่ผู้เรียนต่อการอนุรักษ์มรดกของชาติ

5. กิจกรรมการเรียนการสอน

5.1บรรยายอภิปราย วิเคราะห์วิจารณ์ในชั้นเรียน

5.2ศึกษาจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์

5.3 ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองปฏิบัติงานกลุ่มรายงานผลการศึกษาค้นคว้า/ผลการปฏิบัติงานกลุ่ม

5.4 ศึกษาประวัติศาสตร์ โบราณสถานโบราณวัตถุในภาคตะวันออกเฉียงเหนือปฏิบัติงานกลุ่มรายงานผลการศึกษาค้นคว้า/ผลการปฏิบัติงานกลุ่ม

5.5 สำรวจและศึกษาจากแหล่งความรู้ในชุมชน

6. สื่อการเรียนการสอน

6.1 ใบงาน

6.2PowerPoint

6.3 เอกสารประกอบการสอน

6.4 สื่ออิเล็กทรอนิกส์

7. การประเมินผล

เวลาเรียนไม่ต่ำกว่า80%

ลำดับที่

วิธีการประเมินผล

ร้อยละ

1

การร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน

10

2

ผลงานกลุ่ม

40

3

 

Skill Level: Beginner
เนื้อหาในบทเรียน E-Learning นี้เป็นส่วนหนึ่งในรายวิชา สิ่งแวดล้อมศึกษาในโรงเรียน (Environmental Studies in School) ซึ่งผู้จัดทำได้เลือกเนื้อหาของบทที่ 5 เรื่องการศึกษากับการสร้างคุณลักษณะเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม โดยเนื้อหาในบทนี้จะเน้นหนักไปในด้านหลักและวิธีการให้แนวทางในการปลูกฝังทัศนคติ เจตคติด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นพื้นฐานที่สำคัญของสิ่งแวดล้อมศึกษา
Skill Level: Beginner
การมีส่วนร่วมของโรงเรียน ประชาชนในชุมชนเพื่อการพัฒนาสิ่งแวดล้อม บทบาทของการศึกษาต่อการพัฒนาที่ยั่งยืนและมีส่วนร่วมในชุมชนให้เข้มแข็ง
Skill Level: Beginner

การออกแบบสร้างสรรค์งานศิลปะจากพลาสติกอะคริลิคแผ่น ด้วยเทคนิคและกรรมวิธี

ต่างๆ

The designing and creation of works of art from plastic sheets <acrylic> by means of various methods and techiques.
Skill Level: Beginner