08.00-09.00 | ความรู้พื้นฐานทางทันตกรรมป้องกัน | DT 3 | ผศ. อารยา |
09.00-12.00 | กิจกรรม "แนวคิดสุขภาพองค์รวม" | DT 3 | รศ.ดร.จรินทร์ |
/อ.ประจำกลุ่ม | |||
08.00-10.00 | บทบาทของฟลูออไรด์ในการควบคุมโรคฟันผุ | DT 3 | รศ.ดร.สมเกียรติ |
10.00-12.00 | บทบาทของสารประกอบต่างๆในการป้องกันฟันผุ | DT 3 | ผศ.ดร.ศุภวิชญ์ |
08.00-10.00 | การใช้ฟลูออไรด์ในทางคลินิกในการป้องกันโรคฟันผุ | DT 3 | ผศ.พรทิพย์ |
10.00-12.00 | วิเคราะห์การควบคุมโรคฟันผุในรูปแบบต่างๆ | DT 3 | ผศ.ดร.ศุภวิชญ์ |
08.00-09.00 | ทักษะการแปรงฟันและการใช้อุปกรณ์ทำความสะอาดช่องปาก | DT 3 | รศ.วราภรณ์ |
9.00-12.00 | ฝึกทักษะการแปรงฟันและการใช้อุปกรณ์ทำความสะอาดช่องปาก | MC 3 | อ.ประจำกลุ่ม |
08.00-09.00 | การป้องกันฟันผุโดยการเคลือบหลุมร่องฟันด้วยพลาสติก | DT 3 | รศ.อรอุมา |
09.00-12.00 | ทันตกรรมป้องกันสำหรับรอยโรคบนตัวฟันที่ไม่ใช่ฟันผุ | DT 3 | ผศ.ปิ่นพนา |
08.00-09.00 | การป้องกันฟันผุโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร | DT 3 | รศ.อรอุมา |
09.00-10.30 | บันทึกพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการวิเคราะห์การบริโภคอาหาร 1 | DT 3 | รศ.อรอุมา |
10.30-12.00 | บันทึกพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการวิเคราะห์การบริโภคอาหาร 2 | DT 3 | อ.ดร.สวิตา |
08.00-09.00 | ทักษะในการสื่อสารกับผู้ป่วยสำหรับทันตแพทย์ | DT 3 | รศ.ดร.ฑีฆายุ |
09.00-12.00 | ทักษะในการสื่อสารกับผู้ป่วยสำหรับทันตแพทย์ และการสัมภาษณ์ผู้ป่วย | ชั้น 5 | รศ.ดร.ฑีฆายุ
/ อ.ประจำกลุ่ม |
08.00-09.00 | การประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรคในช่องปาก | DT 3 | รศ.ดร.สมเกียรติ |
9.00-12.00 | Caries activity tests | LAB ชั้น 3 | รศ.ดร.สมเกียรติ/ รศ.ดร.อาริยา |
08.00-09.00 | การป้องกันความผิดปกติของระบบบดเคี้ยว | DT 3 | รศ.ดร.จรินทร์ |
09.00-10.00 | ทันตกรรมปัองกันสำหรับผู้ป่วยใส่ฟันเทียม | DT 3 | ผศ.ดร.สุวดี |
10.00-11.00 | การป้องกันการเกิดโรคของเนื้อเยื่ออ่อนในช่องปาก : smoking | DT 3 | ผศ.วิไลรัตน์ |
11.00-12.00 | ทันตกรรมป้องกันสำหรับผู้ป่วยหลังการทำหัตถการ
(ปวดฟัน,ถอนฟัน,ติดเชื้อ,ผ่าตัด,รังสีรักษา) |
DT3 | ผศ.ทพ.ศิริพงศ์ |
08.00-09.00 | การใช้มาตรการป้องกันในกลุ่มบุคคล ครอบครัว ชุมชนและกลุ่มพิเศษ | DT 3 | ผศ.สุบิน |
09.00-12.00 | ทันตกรรมป้องกันสำหรับผู้ป่วยจัดฟัน | DT3 | ผศ.ดร.เอกสิทธิ์ |
09.00-10.00 | การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและวางแผนทางทันตกรรมป้องกัน | DT 3 | ผศ.ดร.รัชฎา |
10.00-12.00 | ประมวลผลรายบุคคล วิเคราะห์การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และวางแผนทางทันตกรรมป้องกัน (กรณีศึกษา case ตัวอย่าง) | DT 3 | ผศ. อารยา / อ.ประจำกลุ่ม |
08.00-09.00 | เทคนิคการทำสื่อทางทันตกรรมเพื่องานทางทันตกรรมป้องกัน | DT 3 | อ.ดร.วิไลพร |
09.00-10.00 | รับ case ผู้ป่วยจริงจากอ.ประจำกลุ่ม ศึกษาข้อมูลผู้ป่วย+ข้อมูลเพิ่มเติม | ตาม อปก | อ.ประจำกลุ่ม |
10.00-12.00 | วางแผนปฏิบัติการที่เหมาะสมในคลินิก และจัดเตรียมหรือทำสื่อ | ตาม อปก | อ.ประจำกลุ่ม |
08.00-10.00 | หลักการบูรณาการในการป้องกันโรคในช่องปาก | DT 3 | ผศ.ดร.ศุภวิชญ์ |
10.00-12.00 | ปฏิบัติการในคลินิกกับผู้ป่วยจริง 2 | DT 3 | อ.ประจำกลุ่ม |
9.00-12.00 | ปฏิบัติการในคลินิกกับผู้ป่วยจริง 3 | DT 3 | อ.ประจำกลุ่ม |
08.00-09.00 | เตรียมการนำเสนองานทันตกรรมป้องกันในผู้ป่วยจริง ในรูปแบบ Table Clinic | ||
09.00-12.00 | การนำเสนองานทันตกรรมป้องกันในผู้ป่วยจริง ในรูปแบบ Table Clinic | ชั้น 8 | อ.ประจำกลุ่ม |
สอบ final ปีการศึกษา 2566 |
- Teacher: ผศ.ศุภวิชญ์ หมอกมืด
ความรู้พื้นฐานทางทันตกรรมป้องกัน
ทักษะการแปรงฟันและการใช้อุปกรณ์ทำความสะอาดช่องปาก
3. บทบาทของฟลูออไรด์ในการควบคุมโรคฟันผุ |
4. การใช้ฟลูออไรด์ในทางคลินิกในการป้องกันโรคฟันผุ |
5. บทบาทของสารประกอบต่างๆในการป้องกันฟันผุ |
- Teacher: ผศ.ศุภวิชญ์ หมอกมืด
รูปร่างลักษณะและความผิดปกติทางด้านพัฒนาการของฟันน้ำนม การบูรณะฟันน้ำนมด้วยวัสดุอมัลกัม คอมโพสิตเรซิน แก้วไอโอโนเมอร์ ครอบฟันโลหะไร้สนิม การรักษาเนื้อเยื่อประสาทฟันในฟันน้ำนมและฟันถาวรที่ขึ้นใหม่ พันธุกรรมและการเจริญเติบโตทางด้านร่างกายและจิตใจของเด็ก การจัดการพฤติกรรมเด็กด้วยวิธีการที่ไม่ใช้ยาทำให้สงบ รวมทั้งการซักประวัติ การตรวจ การถ่ายภาพรังสี การแปลผลภาพรังสี การวินิจฉัย และการวางแผนการรักษาทางทันตกรรมสำหรับเด็ก
- Teacher: ผศ.ศุภวิชญ์ หมอกมืด
1. นทพ.ทบทวนความรู้ที่ได้เรียนมาจากวิชา 562 301, 562 402 และ 562 421 เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงานในคลินิกทันตกรรมสำหรับเด็ก
2. อาจารย์ปฐมนิเทศรายละเอียดเกี่ยวกับวิชานี้ก่อนการขึ้นปฏิบัติงานในคลินิกทันตกรรมสำหรับเด็ก
3. นทพ.ต้องผ่านการสอบก่อนขึ้นปฏิบัติงานในคลินิกจึงจะปฏิบัติงานในวิชานี้ได้
4. นทพ.ปฏิบัติงานในคลินิกทันตกรรมสำหรับเด็กตามตารางและปริมาณงานที่กำหนด
5. นทพ.ฝึกปฏิบัติงานต่าง ๆ ดังกล่าวในคลินิกทันตกรรมสำหรับเด็ก โดยมีอาจารย์ในภาควิชาทันตกรรมสำหรับเด็กเป็นผู้ดูแล ให้คำปรึกษาและสาธิต
6. นทพ.ต้องปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่ภาควิชาทันตกรรมสำหรับเด็กกำหนดไว้อย่างเคร่งครัด
- Teacher: ผศ.ศุภวิชญ์ หมอกมืด