รหัสวิชา..512 434...

ชื่อวิชา(ภาษาไทย) ระบบมาตรฐานการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย  

          (ภาษาอังกฤษ) Environment, Occupational Health and Safety Management System

1.        คำอธิบายรายวิชา

            เงื่อนไขของรายวิชา :  -

ภาษาไทย :    แนวคิดและองค์ประกอบของระบบมาตรฐานการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ความปลอดภัย  และอาชีว อนามัย วัตถุประสงค์ขั้นตอน และปัจจัยสำคัญในการดำเนินการจัดทำระบบ ข้อกำหนดทั่วไป การจัดการระบบ การเฝ้าระวังและตรวจสอบระบบการจัดการ

ภาษาอังกฤษ : Concept and component of environment, occupational health and safety management system and objectives, procedures and main factors for system operation, general requirement and system management, monitoring and management system audit.

2.        จุดประสงค์รายวิชา  เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ

1.       เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจแนวคิดของระบบมาตรฐานการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ความปลอดภัย  และอาชีวอนามัย

2.       เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจองค์ประกอบของระบบมาตรฐานการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ความปลอดภัย  และอาชีวอนามัย

3.       เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจวัตถุประสงค์ขั้นตอนของระบบมาตรฐานการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ความปลอดภัย  และอาชีวอนามัย

4.       เพื่อให้นักศึกษาทราบปัจจัยสำคัญในการดำเนินการจัดทำระบบมาตรฐานการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ความปลอดภัย  และอาชีวอนามัย

5.       เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจข้อกำหนดทั่วไป การจัดการระบบมาตรฐานการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ความปลอดภัย  และอาชีวอนามัย

6.       เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจการเฝ้าระวังและตรวจสอบระบบการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ความปลอดภัย  และอาชีวอนามัย

3.        วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

1.       การสอนแบบบรรยาย  (Interactive Lecture)

2.       การสอนแบบสอดแทรกคุณธรรม

3.       การจัดการเรียนการสอนแบบบทบาทสมมติ (Roleplay)

4.       แบ่งกลุ่มค้นคว้านอกห้องเรียน และนำเสนอผลงาน (Group Discussion)

5.       การศึกษาด้วยตนเองผ่านระบบ e-learning (Self  Direct Learning)

6.       กระดานสนทนา (Forum)

4.        สื่อการเรียนการสอน

1.       เอกสารประกอบการสอนในแต่ละหัวข้อ

2.       e-learning

5.        การประเมินผล

ลำดับที่

วิธีการประเมินผล

ร้อยละ

1

ความเอาใจใส่การเรียน, ความรับผิดชอบ,การแต่งกาย

5

2

ความตรงต่อเวลา

5

3

งานที่มอบหมาย

40

4

สอบกลางภาค  วันที่ 21 - 25 ธันวาคม 2552

25

5

สอบปลายภาค วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 5 มีนาคม 2553

25

 

รวม

100

* นักศึกษาที่มีสิทธิ์สอบต้องมีเวลาเรียนไม่ต่ำกว่า 80%

เกณฑ์การผ่านการประเมิน 

เกรด       A             ระดับคะแนน        80 100  คะแนน

เกรด       B+           ระดับคะแนน        75 79    คะแนน

เกรด       B             ระดับคะแนน        70 74    คะแนน

เกรด       C+           ระดับคะแนน        65 69    คะแนน

เกรด       C             ระดับคะแนน        60 64    คะแนน

เกรด       D+           ระดับคะแนน        55 59    คะแนน

เกรด       D             ระดับคะแนน        50 54    คะแนน

เกรด       F              ระดับคะแนน        ต่ำกว่า 50 คะแนน

6.        แหล่งการเรียนรู้

1.       http://www.tuv.com/th/_haccp_.html

2.       http://www.thaifactory.com/Manage/

3.       http://www.oshthai.org

4.       http://www.labour.go.th

5.       http://www.ilo.org

6.       http://www.moodythai.com/new/service/22000/what%20is%2022000.htm

7.       http://www.jorpor.com

8.       http://www.safetythai.com

9.       http://www.nice.labour.go.th

8. เอกสารอ่านประกอบ

1.เฉลิมชัย ชัยกิตติภรณ์.ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในประเทศไทย.กรุงเทพฯ:สำนักงานแรงงานระหว่างประเทศ;2545.

2.บรรจง จันทมาศ.การบริหารงานคุณภาพและเพิ่มผลผลิต.กรุงเทพฯ:ห้างหุ้นส่วนจำกัด ที.เอส.บี. โปรดักส์;2547.

2.ฟุ้งศรี ภักดีสุวรรณ.การบริหารคุณภาพในงานอุตสาหกรรม.คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร;2548.

4.เรืองวิทย์ เกษสุวรรณ.การจัดการคุณภาพ.กรุงเทพฯ:บริษัท บพิธการพิมพ์ จำกัด;2547.

5.สราวุธ สุธรรมาสา.การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในประเทศไทย.กรุงเทพฯ;2542.

6.สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม.ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย.กรุงเทพฯ:สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม;2541.

7.สุรีย์ วงศ์ปิยชน.การจัดการความปลอดภัยอาหารด้วยแนวทางตามหลักการ HACCP สำหรับสถานประกอบการสถานที่ปรุง ประกอบ จำหน่ายอาหาร.นนทบุรี:กองสุขาภิบาล กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข;2541.

 

 

 

 

 

 

 

Skill Level: Beginner