1.           คำอธิบายรายวิชา

ความรู้เกี่ยวกับเคมีของไฟ การเกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ของการสันดาป หลักการป้องกันและควบคุมอัคคีภัยในโรงงานอุตสาหกรรม แผนการป้องกันและควบคุมอัคคีภัย การเลือกใช้อุปกรณ์ดับเพลิงสัญญาณเตือนภัย และแผนฉุกเฉินต่าง ๆ

Chemical property components of fire, oxidation chain reaction, principle of industrial fire fighting, fire prevention and control plan, selection of fire fighting equipment and agents, chemical extinguisher, fire alarm equipment and emergency fire fighting plans.

 

2.           จุดประสงค์รายวิชา  เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ

1.       เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายองค์ประกอบของการเกิดเพลิงไหม้

2.       เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายประเภทของโรงงานอุตสาหกรรมกับการเกิดเพลิงไหม้

3.       เพื่อให้นักศึกษาอธิบายการบริหารความปลอดภัยด้านอัคคีภัยในสถานประกอบการ

4.       เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายหลักในการป้องกันอัคคีภัยในโรงงานอุตสาหกรรม

5.       เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจระบบตรวจจับเพลิงไหม้

6.       เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้

7.       เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจระบบกระจายน้ำดับเพลิง

8.       เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจระบบดับเพลิงแบบมือถือ

9.       เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจระบบดับเพลิงแบบติดอยู่กับที่

10.    เพื่อให้นักศึกษาสามารถวางแผนฉุกเฉินเพื่อป้องกันและควบคุมอัคคีภัย

11.    เพื่อให้นักศึกษาสามารถวางแผนระงับเหตุฉุกเฉินที่เกิดจากสารเคมี

12.    เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้อุปกรณ์ดับเพลิงได้

13.    เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับอัคคีภัย

14.    เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้ความรู้ที่เกี่ยวกับระบบดับเพลิงมาประยุกต์ใช้กับกรณีที่ศึกษาได้

 

 

3.           วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

1.       การสอนแบบบรรยาย  (Interactive Lecture)

2.       แบ่งกลุ่มค้นคว้านอกห้องเรียน และนำเสนอผลงาน (Group Discussion)

3.       การศึกษาด้วยตนเองผ่านระบบ e-learning (Self  Direct Learning)

4.       กระดานสนทนา (Forum)

5.       บทบาทสมมติ (Roleplay)

6.       กรณีศึกษา (Case Study)

 

4.           สื่อการเรียนการสอน

1.       เอกสารประกอบการสอนในแต่ละหัวข้อ

2.       e-learning

3.       ใบงาน

4.       ถังดับเพลิง

 

5.           การประเมินผล

ลำดับที่

วิธีการประเมินผล

ร้อยละ

1

สอบย่อย 2 ครั้ง ๆ ละ 5 คะแนน

10

2

สอบกลางภาค  

25

3

สอบปลายภาค

25

4

งานกลุ่ม

-               สำรวจระบบดับเพลิงของ คณะสาธารณสุขศาสตร์

-               จัดทำและซ้อมแผนฉุกเฉิน

20

10

10

5

งานเดี่ยว  (e-Learning)

5

6

เข้าชั้นเรียน, ตรงต่อเวลา, การแต่งกายด้วยชุดนักศึกษา

10

7

การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน

5

 

รวม

100

หมายเหตุ  นักศึกษาที่มีสิทธิ์สอบต้องมีเวลาเรียนไม่ต่ำกว่า 80% \

              เกณฑ์การผ่านการประเมิน 

เกรด       A            ระดับคะแนน        80 100  คะแนน

เกรด       B+          ระดับคะแนน        75 79   คะแนน

เกรด       B            ระดับคะแนน        70 74   คะแนน

เกรด       C+          ระดับคะแนน        65 69   คะแนน

เกรด       C            ระดับคะแนน        60 64   คะแนน

เกรด       D+          ระดับคะแนน        55 59   คะแนน

เกรด       D            ระดับคะแนน        50 54   คะแนน

เกรด       F            ระดับคะแนน        ต่ำกว่า 50 คะแนน

6.           แหล่งการเรียนรู้

1.       http://www.oshthai.org                              

2.       http://www.shawpat.co.th

3.           http://www.jorpor.com                              

4.           http://www.safetythai.com

5.           http://www.thaisafety.net

 

7. เอกสารอ่านประกอบ

1. พิชญะ จันทรานุวัฒน์. 2547. การป้องกันอัคคีภัยในโรงงานอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาตร์

2. คู่มือด้านเทคนิคสำหรับการออกแบบระบบ ป้องกันอัคคีภัย. 2546. กรุงเทพฯ:. ไฟร์เทค อินโนเวชั่น จำกัด

3. มาตรฐานการติดตั้งระบบสัญญาณเตือนภัย. 2529. กรุงเทพฯ: .เอเซียเพรส จก.

4. วิฑูรย์ สิมะโชคดี.2548.วิศวกรรมและการบริหารความปลอดภัยในโรงงาน.กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัด ที.เอส.บี.โปรดักส์.

5. วิทยา อยู่สุข และคณะ, 2539. การป้องกันและควบคุมอัคคีภัยในสถานประกอบการ. กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน (ประเทศไทย)

6. วิทยา อยู่สุข. 2552. การควบคุมป้องกันอัคคีภัยและการประเมินความเสี่ยงในงานอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ: เบสท์ กราฟฟิค เพรส.

7. สมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน (ประเทศไทย), 2540. การป้องกันและควบคุมอัคคีภัย 3130. กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน (ประเทศไทย)

8. Richard L.P. Custer and Brian J. Meacham. 1997. Introduction to Performance-Based Fire safety. USA.

9. Thomas H. Ladwig. 1990. Industrial Fire Prevention and Protection. New York : Van Nostrand Reinhold.

Skill Level: Beginner