Options d'inscription

PUBLIC  HEALTH of

KHON KAEN

UNIVERSITY

คณะสาธารณสุขศาสตร์  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ประมวลการสอนรายวิชา (Course Syllabus)

ภาคเรียนที่ .2.ปีการศึกษา..2552

รหัสวิชา..517 422...

ชื่อวิชา(ภาษาไทย) วิศวกรรมความปลอดภัย

          (ภาษาอังกฤษ) Safety engineering

จำนวนหน่วยกิต: 3(3-0-6)

บรรยาย                 3   ชั่วโมง

ปฏิบัติ                   0   ชั่วโมง

ศึกษาด้วยตนเอง   6  ชั่วโมง

สาขาวิชา

สาขาวิชา เอกคู่

(วิทยาศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อม-อาชีวอนามัยและความปลอดภัย) 14 คนและอาชีวอนามัยและความปลอดภัย47 คน

ประเภทวิชา

วิชาบังคับ

วัน/เวลา

วันพุธเวลา 09.00 12.00 น.

สถานที่สอนห้อง 4303

ผู้สอน

อาจารย์วิภารัตน์   โพธิ์ขี        E-mail: pwipha@kku.ac.th

 

สถานที่ติดต่อ(ผู้สอน)

ภาควิชาวิทยาศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อม

1.        คำอธิบายรายวิชา

ภาษาไทย :    มาตรการต่าง ๆ ทางด้านวิศวกรรมที่ใช้ควบคุมการทำงาน และตรวจสอบตามมาตรฐานความปลอดภัยให้เกิดความปลอดภัย สำหรับผู้ปฏิบัติงานกับเครื่องจักร ไฟฟ้า หม้อไอน้ำ การก่อสร้างตลอดจนเครื่องมือกลต่าง ๆ

ภาษาอังกฤษ : Engineering measures for control and  inspect of work condition based on safety standard to increase safety of workers working with  machine, electric, stream boiler, construction and other  mechanics.

2.        จุดประสงค์รายวิชา  เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ

1.       เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างวิศวกรรมความปลอดภัยและการควบคุมอุบัติเหตุได้

2.       เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจถึงมาตรการทางด้านวิศวกรรมที่ใช้ควบคุมความปลอดภัยในรออกแบบและวางผังโรงงานรวมถึงการบำรุงรักษาอาคารได้

3.       เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจหลักการทำงาน และอันตรายที่เกิดจากเครื่องจักรกล เสนอแนะมาตรการป้องกันแก้ไข พร้อมทั้งสามารถตรวจสอบเครื่องจักรกลตามมาตรฐานความปลอดภัย

4.       เพื่อให้นักศึกษาสามารถประเมินอันตรายจากไฟฟ้า เครื่องมือกลที่ใช้ในงานไฟฟ้า และงานเชื่อมโลหะ พร้อมทั้งสามารถตรวจสอบเบื้องต้นเกี่ยวกับระบบไฟฟ้าที่ใช้ในอาคารโรงงานและงานก่อสร้างตามมาตรฐานความปลอดภัย

5.       เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายส่วนประกอบและหลักการทำงานของหม้อไอน้ำและอันตรายที่เกิดจากหม้อไอน้ำ ภาชนะรับความดัน และภาชนะบรรจุแก๊ส

6.       เพื่อให้นักศึกษาสามารถประเมินอันตรายที่อาจเกิดจากงานเชื่อม งานตัด และเสนอมาตรการป้องกันพร้อมทั้งตรวจสอบอุปกรณ์ตามมาตรฐานความปลอดภัยได้

7.       เพื่อให้นักศึกษาสามารถบอกประเภทของการเคลื่อนย้ายวัสดุ รวมถึงอุปกรณ์ที่ใช้ในการเคลื่อนย้ายวัสดุและความปลอดภัยในการเคลื่อนย้ายวัสดุได้

8.       เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายประเภทของนั่งร้าน บันได และสามารถตรวจสอบตามมาตรฐานความปลอดภัยได้

9.       เพื่อให้นักศึกษาสามารถประเมินอันตรายที่เกิดจากฝุ่นผงในงานอุตสาหกรรม และเสนอแนะแนวทางการป้องกันเชิงวิศวกรรมได้

10.10 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจระบบการจัดทำการล็อคและการแขวนป้ายของเครื่องจักร พร้อมทั้งตระหนักถึงอันตรายที่อาจเกิดขึ้นถ้าไม่มีระบบดังกล่าว

3.        วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

1.       การสอนแบบบรรยาย  (Interactive Lecture)

2.       แบ่งกลุ่มค้นคว้านอกห้องเรียน และนำเสนอผลงาน (Group Discussion)

3.       การศึกษาด้วยตนเองผ่านระบบ e-learning (Self  Direct Learning)

4.       กระดานสนทนา (Forum)

4.        สื่อการเรียนการสอน

1.       เอกสารประกอบการสอนในแต่ละหัวข้อ

2.       e-learning

5.        การประเมินผล

 

 

* นักศึกษาที่มีสิทธิ์สอบต้องมีเวลาเรียนไม่ต่ำกว่า 80%

เกณฑ์การผ่านการประเมิน 

เกรด       A   ระดับคะแนน        80 100  คะแนน

เกรด       B+ ระดับคะแนน        75 79   คะแนน

เกรด       B   ระดับคะแนน        70 74   คะแนน

เกรด       C+ ระดับคะแนน        65 69   คะแนน

เกรด       C   ระดับคะแนน        60 64   คะแนน

เกรด       D+ ระดับคะแนน        55 59  คะแนน

เกรด       D  ระดับคะแนน        50 54   คะแนน

เกรด       F  ระดับคะแนน        ต่ำกว่า 50 คะแนน

1.        แหล่งการเรียนรู้

1.       http://www.oshthai.org

2.       http://www.labour.go.th

3.       http://www.jorpor.com

4.       http://www.safetythai.com

5.       http://www.thaisafety.net

6.       http://www.nice.labour.go.th

7.       http://www.esiehr.com

8. เอกสารอ่านประกอบ

1. พิชัย พฤกษ์ธาราธิกุล.2542.ผู้ควบคุมหม้อไอน้ำ.กรุงเทพฯ : บริษัท ธวิพัฒน์ จำกัด

2. พิชัย พฤกษ์ธาราธิกุล.2543.เอกสารประกอบการสอนวิชาวิศวกรรมความปลอดภัย.กรุงเทพฯ: คณะสาธารณสุข    ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.

3. วิฑูรย์ สิมะโชคดี.2548.วิศวกรรมและการบริหารความปลอดภัยในโรงงาน.กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัด ที.เอส.บี.              โปรดักส์.

4. สถาบันความปลอดภัยในการทำงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน.2542.แนวปฏิบัติการบริหารความปลอดภัย          ในงานก่อสร้าง.กรุงเทพฯ : บริษัท ร้อยสิบเอ็ดธุรกิจ จำกัด

5. สถาบันความปลอดภัยในการทำงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน.2542.แนวปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยใน           การใช้เครื่องจักรกลและอุปกรณ์ในงานก่อสร้าง.กรุงเทพฯ : บริษัท ร้อยสิบเอ็ดธุรกิจ จำกัด

6. สุรศักดิ์ ซ่อนกลิ่น.2549.คู่มือการอบรมความปลอดภัยในการใช้ปั่นจั่นและอุปกรณ์ช่วยยกในงานก่อสร้าง.ระยอง : ศูนย์          ความปลอดภัยในการทำงาน พื้นที่ 9.

9.  แผนการเรียนการสอน

สัปดาห์ที่ 

หัวข้อที่สอน

Skill Level: Beginner
Les visiteurs anonymes ne peuvent pas accéder à ce cours. Veuillez vous connecter.